มีฤทธิ์ต้านมะเร็ง ลดความเสี่ยงการเกิดมะเร็วต่อมลูกหมาก แหล่งของแคลเซียมและไขมันโอเมกา 3
แนวทางการได้รับประโยชน์สูงสุด
ไอโซฟลาโวนในเต้าหู้ที่ทำจากถั่วเหลืองและนมถั่วเหลื องไม่ถูกทำลายเมื่อทำให้สุก หากรับประทานนมถั่วเหลืองแทนผลิตภัฒฑ์นมควรเลือกชนิด ที่เสริมแคลเซียม
ปริมาณที่ควรบริโภค
ปริมาณที่รับประทานทั่วไปคือเต้าหู้ 75 - 100 กรัม และ นมถั่วเหลืองเข้มข้น 200-250 มิลลิตร ได้ โปรตีน 10 -15 กรัม และ ไอโซฟลาโวน 20 - 25 กรัม (แตกต่างกันตามผลิตภัฒฑ์) รับประทานนมถั่วเหลืองแทนนมวัว ปละควรมีเต้าหู้ในผัดข้าว และอาหารประเภทเนี้อย่าง (ปริมาณสารอาหารต้องเป็นถั่งเหลืองที่ไม่ตัดต่อพันธุกรรม)


ประโยชน์ที่สำคัญ
ไอโซฟลาโวนเป็นพฤษเคมีหลักในเต้าหู้ ซึ่งทำจากนมถั่วเหลือง และนมนมถั่วเหลืองที่มีไอโซนฟลาโวนมาก จากงานวิจัยพบว่า ไอโซฟลาโวนอาจช่วยต้านมะเร็งได้หลายทาง เช่น ต้านอิสโทรเจนยังยั้งเอนไซม์ที่จำเป็นสำหรับการเติบโ ตของมะเร็ง จำกัดเลือดไปเลี้ยงเซลล์มะเร็ง และต้านอนุมูลอิสระ
มะเร็งเต้านม
ผู้หญิงญี่ปุ่นเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมต่ำ และมีระดับของไอโซฟลาโวนในเลือดสูงเมื่อเทียบกับผู้ห ญิงตะวันตก การได้รับไอโซฟลาโวนตลอดเวลาอาจมีอิทธิพลทำให้ร่างกา ยปรับตัวลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านม
มะเร็งต่อมลูกหมาก
การศึกษาผู้ชายในสหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 20 ปี พบว่า ผู้ชายที่ดื่มนมถั่วเหลืองวันละมากกว่า 1 ครั้ง ลดความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งลงถึงร้อยละ 70 เทียบกับผู้ที่ไม่ได้ดื่ม
ชาเขียว : พฤษเคมีอื่น ๆ
สารยังยั้งโพรทีเอส
กรดไฟติก
ไฟโทสเทอรอล

คุณค่าทางโภชนาการต่อน้ำหนัก 100 กรัม
พลังงาน 36
เส้นใยอาหาร 1.2 กรัม
แคลเซียม 120 มิลลิกรัม
วิตามิน E 1.5 มิลลิกรัม
Credit : http://webboard.playpark.com/showthread.php?t=36980